เป้าหมายการพัฒนาหลักสูตร
1.
เตรียมผู้เรียนไปสู่สังคมอนาคต
2.
เป็นการจัดการศึกษาแบบ inclusive
education
3.
ผู้เรียนทุกคนมีพื้นที่ที่จะยืนอยู่ได้
4.
ผู้เรียนส่วนหนึ่งสามารถไปแข่งขันในเวทีโลก
ฐานคิดการพัฒนาหลักสูตร
1. มุมมองจากผู้เรียน (Demand side)
-
การวิเคราะห์ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายเป็นหลัก
- ลักษณะหลักสูตรและการเรียนรู้จะตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและสังคม
-
ส่งเสริมให้ผู้สำเร็จการศึกษาไปสร้างงานและประกอบอาชีพ
2. มุมมองจากผู้ให้บริการ (Supply side)
- มุ่งเน้นศักยภาพของผู้ให้บริการเป็นหลัก
- ลักษณะหลักสูตรและการเรียนรู้
ไม่ค่อยตอบสนองความต้องการ และความสนใจของกลุ่มเป้าหมาย
- ผู้สำเร็จการศึกษาส่วนใหญ่มุ่งเข้าสู่ตลาดงาน
3. การศึกษาความเป็นไปได้ในการสร้างหลักสูตร
- การวิจัยเพื่อหาความต้องการสร้างหลักสูตรใหม่
- การประเมินหลักสูตรเดิมเพื่อเป็นฐานข้อมูล (based –
line data) เพื่อปรับปรุงหลักสูตร
4. การพัฒนาหลักสูตรทำโดยคณะกรรมการที่มีองค์ประกอบของคณะกรรมการที่มีความเชี่ยวชาญเหมาะสมกับหลักสูตรที่จะสร้าง
.....
ที่มา: วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2556 กรกฎาคม 19). แนวคิดหลักการพัฒนาหลักสูตรแบบครบวงจร. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Powerpoint ประกอบการสอนนิสิตปริญญาเอกสาขาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร.
จริยา ทองหอม. (2560 ตุลาคม 31). การพัฒนาหลักสูตรแบบครบวงจร.
จาก https://www.facebook.com/profile.php?id=100001093292112
จาก https://tonghom2009.blogspot.com
จาก https://www.facebook.com/profile.php?id=100001093292112