ภาระงานของกลุ่มนิเทศ
ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
จริยา
ทองหอม
กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการการจัดการศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเป็นกลุ่มงานที่ดำเนินการเกี่ยวกับการนิเทศการศึกษา
วิเคราะห์วิจัย ติดตามตรวจสอบและประเมินผลการพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการศึกษา
เพื่อให้สถานศึกษามีความเข้มแข็งใน
การบริหารและการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐานเท่าเทียมกันโดยยึดวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการศึกษา
ดังนี้
๑.
เพื่อให้มีแนวทางการนิเทศการบริหารและการจัดการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและ
สถานศึกษา
๒. เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษามีความเข้มแข็งในการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาและจัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ
กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
มีโครงสร้าง ดังนี้
๑.
งานประสานส่งเสริม สนับสนุนเละพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
หลักสูตรการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา และหลักสูตรการศึกษาพิเศษ
๑.๑ ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน
และพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๑.๑.๑ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารและแหล่งข้อมูลต่าง
ๆ อาทิ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มาตรฐานการเรียนรู้
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางทั้ง ๘ กลุ่มสาระการเรียน
๑.๑.๒ ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร
แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แนวทางการวัดและประเมินผล แนวทางการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน รวมทั้งศึกษาสภาพ บริบททางสังคม
ปัญหาและความต้องการของท้องถิ่น ชุมชน แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
๑.๑.๓ ดำเนินการจัดทำกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นด้วยกระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วม
และเผยแพให้สถานศึกษาในสังกัดนำไปใช้ในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา
๑.๑.๔ ส่งเสริมสนับสนุน
และพัฒนาผู้บริหารโรงเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้ความรู้
ความเข้าใจในการพัฒนาและใช้หลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช
๒๕๕๑
๑.๑.๕ ส่งเสริม
สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นและความต้องกรจุดเน้นของสถนศึกษาด้วยกระวนการทำงานแบบมีส่วนร่วม
๑.๑.๖ ส่งเสริมและประสานความร่วมมือระหว่างสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
สถานศึกษา
และชุมชนอย่างสม่ำเสมอเพื่อร่วมมือช่วยเหลือกันในการพัฒนาและใช้หลักสูตรสถานศึกษา
๑.๑.๗ นิเทศกำกับติดตามให้คำแนะนำ
ช่วยเหลือผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนเพื่อให้เกิด
การปรับปรุง/พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้มีคุณภาพ
๑.๒ ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาหลักสูตรการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา
๑.๒.๑ วิเคราะห์
สังเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารและแหล่งข้อมูลต่าง ๆ อาทิ หลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัยพุทธศักราช
๒๕๔๖ คู่มือหลักสูตรกาศึกษาปฐมวัย ทิศทางการพัฒนาการศึกษาปฐมวัย รวมทั้งศึกษา
สภาพปัญหาและบริบททางสังคม
ความต้องการของท้องถิ่น ชุมชน แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
๑.๒.๒ ส่งเสริม สนับสนุน
และพัฒนาผู้บริหารโรงเรียน ครู
และบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาและใช้หลักสูตสถานศึกษาปฐมวัยตามหลักสูตรกาศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช
๒๕๔๖
๑.๒.๓ ส่งเสริม
สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ให้สอดคล้องกับ
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช ๒๕๔๖ ด้วยกระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วม และนำไปใช้
จัดประสบการณ์และกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนทุกด้านอย่างสมดุล
๑.๒.๔
ส่งเสริมและประสานความร่วมมือระหว่างสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา
และชุมชนอย่างสม่ำเสมอเพื่อร่วมมือช่วยเหลือกันในการพัฒนา
และใช้หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย
๑.๒.๕ ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น
ที่จัดการศึกษาปฐมวัย เช่น องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น กรมการศาสนา
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข เป็นต้น
๑.๒.๖ นิเทศกำกับ
ติดตามให้คำแนะนำ ช่วยเหลือผู้บริหาสถานศึกษาและครูผู้สอนเพื่อให้เกิด
การปรับปรุง/พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยให้มีคุณภาพ
๑.๓ ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน
และพัฒนาหลักสูตรการศึกษาพิเศษ
๑.๓.๑ รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์
และสังเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารและแหล่งข้อมูลต่าง ๆ อาทิ
แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาปฐมวัย
นโยบายและแผนจัดการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
พิเศษ
๑.๓.๒ ประสานงาน
ส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษามีความพร้อมในการจัดการศึกษา
สำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษในรูปแบบที่เหมาะสม
๑.๓.๓
ส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา
ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการศึกษาพิเศษ
ให้สามารถบริหารจัดการและวางแผนจัดการศึกษาสำหรับ
ผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ
๑.๓.๔
ส่งเสริมและประสานความร่วมมือระหว่างสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาและ
ชุมชนอย่างสม่ำเสมอ
เพื่อร่วมมือช่วยเหลือกันในการดำเนินการจัดการศึกษาสำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการ
พิเศษ
๑.๓.๕
ประสานความร่วมมือและสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาพิเศษ
เช่น สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
๑.๓.๖ ดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม
ให้ความช่วยเหลือแนะนำผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนเพื่อให้เกิดการปรับปรุง/พัฒนาแผนจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษให้มีคุณภาพ
๒. งานศึกษา
วิเคราะห์ วิจัย เพื่อพัฒนาหลักสูตร การสอนและกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
๒.๑ ศึกษา
วิเคราะห์ วิจัย เพื่อพัฒนาหลักสูตร
๒.๑.๑ ศึกษานโยบาย แผนงาน และยุทธศาสตร์ในพัฒนาการบริหารจัดการหลักสูตรการพัฒนาและใช้หลักสูตร
การพัฒนาคุณภาพครูและผู้เรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
๒.๑.๒ ศึกษา วิเคราะห์
วิจัยเพื่อพัฒนากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น
๒.๑.๓ ศึกษาวิเคราะห์ วิจัย
เพื่อพัฒนาหลักสูตรและประเมินผลการใช้หลักสูตร
๒.๑.๔ ส่งเสริม สนับสนุน
ผู้บริหารสถานศึกษาและครูให้ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพื่อพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
และประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา
๒.๑.๕ ส่งเสริม สนับสนุน ผู้บริหารสถานศึกษาและครูเพื่อพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโดยใช้ข้อมูลจากการนิเทศ
การวิจัย การประเมินผลการใช้หลักสูตร
การประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชั้นเรียนและระดับสถานศึกษา
๒.๑.๖
นิเทศกำกับ ติดตาม
ให้ความช่วยเหลือแนะนำผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนเพื่อให้เกิดการวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตรให้มีคุณภาพ
๒.๑.๗
นำผลการวิจัยมาใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมทั้งกำหนด
ยุทธศาสตร์และนโยบายในการบริหารจัดการหลักสูตรในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา
๒.๑.๘ ส่งเสริม สนับสนุน การเผยแพร่ความรู้และจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร
๒.๒ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย
เพื่อพัฒนาการสอนและกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
๒.๒.๑ ส่งเสริม สนับสนุน
ผู้บริหารสถานศึกษาและครูให้ศึกษา วิเคราะห์
วิจัยเพื่อพัฒนาการสอนและกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนตามหลักสูตร
โดยใช้ข้อมูลจากการวิจัยปฏิบัติการและติดตามผลการใช้หลักสูตร
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และการนิเทศภายใน
๒.๒.๒ ส่งเสริม
สนับสนุนให้ผู้บริหารสถานศึกษา วิเคราะห์ วิจัย
เพื่อการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
๒.๒.๓ ส่งเสริม
สนับสนุนให้ครูทำวิจัยปฏิบัติการ (Action Research) เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
๒.๒.๔ นิเทศ กำกับ ติดตาม
ให้ความช่วยเหลือแนะนำผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนเพื่อให้เกิดการวิจัยเพื่อพัฒนาการบริหารจัดการหลักสูตร
การจัดการเรียนรู้ และกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มี
คุณภาพ
๒.๒.๕
นำผลการวิจัยมาใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนคุณภาพครูและคุณภาพนักเรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา
๒.๒.๖ ส่งเสริม สนับสนุนการเยแพร่ความรู้และจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้และกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนโครงการกิจกรรมที่ส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการในระดับก่อนประถมศึกษา
ระตับการศึกษาชั้นพื้นฐาน การศึกษาพิเศษ
๓. งานวิจัย
พัฒนา ส่งเสริม ติดตามตรวจสอบ และประเมินผลเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการศึกษา
๓.๑ วิจัย พัฒนา ส่งเสริม ติดตาม ตรวจสอบ
และประเมินผลเกี่ยวกับการวัดและประเมินผล
ระดับชั้นเรียนและสถานศึกษา
๓.๑.๑ ศึกษาหลักเกณฑ์
และแนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของสถานศึกษารวมทั้งแนวทางการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓.๑.๒
เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้บริหารสถานศึกษา ครู
และบุคลากรในสถานศึกษาเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร
และการเทียบโอนผลการเรียน
๓.๑.๓ ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้บริหารสถานศึกษา
ครูและบุคลากรในสถานศึกษามีความรู้ความ
เข้าใจในแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล
ตลอดจนความเข้าใจในเทคนิค วิธีการวัดและประเมินรูปแบบต่างๆ โดยเน้นการประเมินตามสภาพจริง
๓.๑.๔ ส่งเสริม
สนับสนุนให้สถานศึกษาพัฒนาเครื่องมือที่เป็นมาตรฐาน บริหารจัดการการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
และจัดเก็บเอกสารหลักฐานการศึกษาอย่างเป็นระบบ
๓.๑.๕ ส่งเสริม
สนับสนุนการดำเนินงานด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
๓.๑.๖ ประสานให้มีการดำเนินการสอนซ่อมเสริมในภาคฤดูร้อนเพื่อแก้ไขผลการเรียนของผู้เรียน
๓.๑.๗ นิเทศติดตาม ตรวจสอบ
และให้คำปรึกษาให้แก่ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรในสถานศึกษาเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
และการจัดทำเอกสารหลักฐานการศึกษา
๓.๑.๘ วิจัย พัฒนา
และประเมินผลการดำเนินงานด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระดับชั้นเรียนและสถานศึกษาเพื่อนำผลมาใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการศึกษา
๓.๒ วิจัย พัฒนา ส่งเสริม ติดตาม ตรวจสอบ
และประเมินผลเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลระดับเขตพื้นที่การศึกษา
๓.๒.๑
ศึกษาหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติในการวัดและประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับ
สถานศึกษาและระดับเขตพื้นที่การศึกษา
๓.๒.๒
ประสานความร่วมมือระหว่างสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา
๓.๒.๓
เสริมสร้างความรู้ความข้าใจให้กับผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรในสถานศึกษา
เกี่ยวกับการวัดและประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา
๓.๒.๔
กำหนดวิธีการและพัฒนา/จัดทำเครื่องมือที่เป็นมาตรฐานสำหรับใช้ประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา
๓.๒.๕
ดำเนินการประเมินคุณภาพของผู้เรียนของสถานศึกษาในสังกัดในรูปแบบของคณะกรรมการ
๓.๒.๖ วิจัย พัฒนา
และประเมินผลการดำเนินงานด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระดับชั้นเรียน
ระดับสถานศึกษา และระดับเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อนำผลมาใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการศึกษา
๓.๒.๗
รายงานผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษาต่อหน่วยงานต้นสังกัดและเผยแพร่ต่อสถานศึกษาเพื่อให้สถานศึกษานำไปใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
๓.๒.๘ นำผลการวิจัย การประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษามาใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นการศึกษา
๓.๓ วิจัย พัฒนา ส่งเสริม ติดตาม ตรวจสอบ
และประเมินผลเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลระดับชาติ
๓.๓.๑ ศึกษาหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติในการวัดและประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ
๓.๓.๒
ประสานความร่วมมือระหว่างสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา
และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ เช่น
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) สำนักทดสอบทางการศึกษา
๓.๓.๓
เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรในสถานศึกษา
เกี่ยวกับการวัดและประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ
๓.๓.๔
ดำเนินการประเมินคุณภาพของผู้เรียนตามแนวทางที่กระทรวงศึกษาธิการ
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่ชาติ หรือสำนักทดสอบทางการศึกษากำหนด
๓.๓.๕
รายงานผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติต่อหน่วยงานตันสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
และเผยแพร่ต่อสถานศึกษาเพื่อให้สถานศึกษานำไปใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
๓.๓.๖
นำผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติมาใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนยกระดับ
คุณภาพการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
๔. งานวิจัย
พัฒนา ส่งเสริม มาตรฐานการศึกษา
และการประกันคุณภาพการศึกษาประเมินติดตามและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
๔.๑ การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการจัดการศึกษา
๔.๑.๑ ศึกษาระบบหลักเกณฑ์วิธีการ
แนวทางการปฏิบัติ
ตลอดจนกฎเกณฑ์ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
๔.๑.๒ ศึกษาคันคว้า หลักการ แนวคิด
และทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดทำมาตรฐานการศึกษาแล้วนำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับมาตรฐานการศึกษาชาติ
มาตรฐานการศึกษาระดับเขตพื้นที่การศึกษา และมาตรฐานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
๔.๑.๓
ส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษาสร้างความตระหนัก ความรู้ ความเข้าใจ
เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพและการประกันคุณภาพการศึกษาแก่บุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
๔.๑.๔
ส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษาดำเนินการตามกฎกระทรวง พ.ศ. ๒๕๕๓ ว่าด้วยระบบ
หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
ให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและความต้องการของชุมชน /
ท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องและเข้มแข็งรวมทั้งการกำหนดตัวบ่งชี้ เกณฑ์ในการแปลผล
การตัดสินการผ่านมาตรฐาน และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างสถานศึกษา
๔.๑.๕ ร่วมกำหนดกลยุทธ์ในการพัฒนาระบบประกันคุณภาทั้งระดับเขตพื้นที่การศึกษาและ
ระดับสถานศึกษา
๔.๑.๖ นิเทศ ติดตาม
พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง
๔๑.๗ สรุป
รายงานผลการดำเนินงานและจัดทำเอกสารผยแพร่ ผลการดำเนินงาน/วีรีการปฏิบัติที่ดี
๔.๒ การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
๔.๒.๑ วางแผนและจัดทำระบบการติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานการจัดการศึกษาระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา นิเทศ
บุคลากรที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถดำเนินการประเมินผล
และตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๔.๒.๒
ดำเนินการตรวจสอบประเมินคุณภาพมาตรฐานการจัดการศึกษาของสถานศึกษาทุกแห่งอย่างน้อย
๓ ปี ต่อ ๑ ครั้งนิเทศ ติดตาม ประเมินระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง
วิเคราะห์
ผลการตรวจสอบ การประเมินคุณภาพการศึกษา เพื่อกำหนดนโยบายในการพัฒนาระบบการ
ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
๔.๒.๓ ดำเนินการให้ความช่วยเหลือ
พัฒนาสถานศึกษาที่ยังไม่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์อย่างเป็นระบบทุกฝ่ายมีส่วนร่วม
๔.๒.๔ จัดทำจัดหา เผยแพร่ระบบสารสนทศ
ผลการประเมินคุณภาพ นวัตกรรม เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
๔.๒.๕
ประสานงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก
ส่งเสริมสถานศึกษาให้พร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๔.๒.๖ สรุป รายงานผลการดำเนินการ
จัดทำเอกสาร
เผยแพร่ผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศและนวัตกรรมด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
๔.๓ ประสานงานการประเมินคุณภาพภายนอก
๔.๓.๑
ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาประเมินตนเอง จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาที่เป็นรายงานประจำปี
๔.๓.๒
ให้ข้อเสนอแนะกับสถานศึกษาในการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
เพื่อขอรับการประเมินภายนอก (ซ้ำ) ตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
๔.๓.๓
จัดทำข้อมูลสถานศึกษาที่เข้ารับการประเมินคุณภาพภายนอก
ประสานงานกับสถานศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมรับการประเมินภายนอกจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)
๔.๓.๔ ประสานงานกับสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
(สมศ.) ในการตรวจสอบข้อมูล ผลการประเมินคุณภาพ เพื่อให้ได้ผลการประเมินคุณภาพภายนอกที่ถูกต้องและนำผลการ
ประเมินไปใช้พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
๔.๓.๕
จัด/ส่งเสริมให้บุคลากรของสถานศึกษาอบรม สัมมนา พัฒนาเกี่ยวกับการเตวียมความ
พร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๔.๓.๖ นิเทศ ติดตาม กำกับ
สถานศึกษาในการดำเนินการจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาให้พร้อมรับและผ่านมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอก
๔.๓.๗ สรุป รายงาน
สังเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพภายนอก เพื่อเผยแพรและนำไปใช้
ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
๔.๔.
การวิจัยส่งเสริมพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา
๔.๔.๑ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย
มาตรฐานการประกันคุณภาพภายในและภายนอก ของแต่ละ
หน่วยงาน
๔.๔.๒ ส่งเสริม สนับสนุน และ /
หรือร่วมกับสถานศึกษาดำเนินการวิจัยมาตรฐานและ การประกันคุณภาพการศึกษา
๔๔.๓ ส่งเสริม
สนับสนุนให้สถานศึกษานำผลการวิจัยมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษามาใช้
ในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
๔.๔.๔
รวบรวมและเผยแพร่ผลการวิจัยมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
๔.๔.๕. นิเทศ ติดตาม
การวิจัยมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ของสถานศึกษาและนำผลมาใช้ในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
๕.
งานนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
๕.๑ ส่งเสริม
และพัฒนาระบบการนิเทศและการจัดกระบวนการเรียนรู้
๕.๑.๑ รวบรวม จัดทำระบบข้อมูลสารสนทศ
เกี่ยวกับการพัฒนาระบบการนิเทศและการจัด
กระบวนการเรียนรู้
๕.๑.๒
ศึกษาสภาพความต้องการของการนิเทศและการจัดกระบวนการเรียนรู้
๕๑.๓
จัดทำแผนการส่งเสริมและพัฒนาระบบการนิเทศและกาจัดกระบวนการเรียนรู้
๕.๑.๔
ดำเนินการนิเทศโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานและโครงการเป็นฐาน
การนิเทศโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
ส่งเสริมการนิเทศภายใน ส่งเสริมเครือข่ายนิเทศ ครูแกนนำ ครูภูมิปัญญา ส่งเสริมการนิเทศภายนอก
การนิเทศอย่างมีส่วนร่วม
การระดมพลังนิเทศจากทุกฝ่ายนิเทศโดยใช้โครงการเป็นฐานโรงเรียนดีใกล้บ้าน
โรงเรียนดีประจำตำบล Education Hub World Class โรงเรียน
วิถีพุทธ โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนอัจฉริยะภาพ โรงเรียนสองภาษา
โรงเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฯลฯ
๕.๑.๕
จัดทำสรุป รายงานผลและเผยแพร่เทคนิคการนิเทศและการจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่ประสบผลสำเร็จ
๕.๒ งานส่งเสริม สนับสนุน เครือข่ายการนิเทศของเขตพื้นที่การศึกษาสถานศึกษาหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องและชุมชน
๕.๒.๑
ประสานการจัดทำระบบข้อมูลสารสนทศเกี่ยวกับเครือข่ายการนิเทศในเขตพื้นที่การศึกษา
๕.๒.๒ จัดทำแผนการส่งเสริมสนับสนุนเครือข่ายการนิเทศในเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา
๕.๒.๓
ดำเนินการและร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพัฒนาเครือข่ายการนิเทศในรูปแบบ ต่าง
ๆที่หลากหลาย
-
พัฒนาห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ
หรือสถานศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้
-
จัดเวทีวิชาการ
เผยแพร่นวัตกรรมองค์ความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการและการจัดกระบวนการเรียนรู้
ให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
-
จัดตั้งเครือข่าย สถานศึกษา
เครือข่ายชุมชนเพื่อการเรียนรู้
-
จัดตั้งเครือข่ายบุคคล ครูแกนนำ ครูต้นแบบ
ชมรมครู ชมรมผู้บริหาร ชมรมบุคลากรทางการศึกษา
๕.๒.๔ จัดทำสรุป รายงานและเผยแพร่เทคนิค
วิธีการ สื่อ เครื่องมือ หรือรูปแบบ เครือข่ายนิเทศและเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพ
๕.๓ นิเทศติดตามตรวจสอบและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา
๕.๓.๑
จัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการนิเทศติดตามารบริหารจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา
๕.๓.๒
ศึกษาวิเคราะห์และจัดทำเกณฑ์ดัชนีชี้วัดความสำเร็จในการนิเทศการบริหารจัดการศึกษา
๕.๓.๓ ดำเนินการนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล
การบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา
๕.๓.๔ สรุปรายงานผลการนิเทศติดตาม
ตรวจสอบและประเมินผลและเผยแพร่ ผลการดำเนินการ
๕.๔ ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย
การพัฒนาการนิเทศการบริหารและการจัดการศึกษา
๕.๔.๑ ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์
สภาพปัญหาเกี่ยวกับการพัฒนาการนิเทศระบบบริหาร
และการจัดการศึกษา
๕.๔.๒ ดำเนินการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาการนิเทศการบริหารและการจัดการศึกษา
- การพัฒนาการนิเทศระบบบริหารและการจัดการศึกษา
- การพัฒนาเครือข่ายการนิเทศ
- การใช้กระบวนการวิจัยในการพัฒนาการนิเทศระบบบริหารการจัดการศึกษาและ
เครือข่ายการนิเทศ
๕.๔.๓
สนับสนุนส่งเสริมและเผยแพร่การวิเคราะห์ วิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาการนิเทศระบบการ
บริหารและการจัดการศึกษา
-
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีปฏิบัติที่ดี
-
จัดคลังความรู้รูปแบบวิธีการนิเทศการบริหารและการจัดการศึกษาที่ดี
๖. งานศึกษา
วิเคราะห์ วิจัย พัฒนา ส่งเสริมและพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
๖.๑
ส่งเสริมพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
๖.๑.๑ ศึกษาความต้องการสื่อ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
๖.๑.๒ ดำเนินการพัฒนาสื่อ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา รวมทั้งสื่อต้นแบบของหน่วยงานเพื่อสนับสนุนช่วยเหลือ
ตามความต้องการของสถานศึกษา
๖.๑.๓ ส่งเสริมและพัฒนาครู
ผู้บริหารสถานศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถในการพัฒนาสื่อ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
๖.๑.๔ นิเทศ ติดตามและประเมินผลการพัฒนาสื่อ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา เพื่อนำผลมาปรับปรุงและพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ
๖.๑.๕
ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
ในการส่งเสริมการใช้สื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
๖.๑.๖ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์การพัฒนาสื่อ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
๖.๒ งานศึกษาคันคว้า วิเคราะห์
วิจัย การพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
๖.๒.๑ ศึกษาคันคว้า วิเคราะห์ วิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาสื่อ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
๖.๒.๒
วิจัยเพื่อพัฒนาสื่อตันแบบ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ให้สอดคล้องกับความต้องการของสถานศึกษา
๖.๒.๓
ส่งเสริมสนับสนุนไห้สถานศึกษาที่ดำเนินการศึกษา คันคว้า วิเคราะห์ วิจัยได้มีโอกาส
แลกเปลี่ยน
ผลการวิเคราะห์ วิจัยนำไปใช้และเผยแพร่สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
๗. งานปฏิบัติงานเลขานุการคณะกรมการติดตามตรวจสอบประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา
๗.๑ เลขานุการคณะกรมการติดตามตรวจสอบประเมินผลและนิเทสกาศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา
๗.๑.๑ การพัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศ
- กำหนดขอบข่ายของข้อมูลด้านวิชาการ บริหารงานบุคคล บริหารงบประมาณและบริหารทั่วไปของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
โดยศึกษาจากนโยบาย แผนพัฒนาการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี รายงานผลการปฏิบัติงาน
จากกลุ่มต่างๆ ในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
- รวบรวม วิเคราะห์
สังเคราะห์และจัดทำระบบข้อมูล สารสนเทศ
- ตรวจสอบข้อมูลและสารสนเทศให้เป็นปัจจุบัน
- เผยแพร่ข้อมูลเป็นเอกสารและทาง internet ในระบบครือข่ายละสถานศึกษาในเขตพื้นที่
- รายงานผลการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ที่เป็นข้อมูลและสารสนทศ
ต่อคณะกรรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ถึงจุดเด่น
จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะ
๗.๒.๑ การวางแผนการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินและการนิเทศการศึกษา
- วิเคราะห์ผลการบริหารและการจัดการศึกษาในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาด้านวิชาการ
บริหารงานบุคคล บริหารงบประมาณและบริหารทั่วไป ให้เห็นจุดเด่น
จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะ
- กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย
กลยุทธ์ในแผนพัฒนาคุณภาพการติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและการนิเทศการศึกษา
- นำเสนอแผนพัฒนาคุณภาพการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินและการนิเทศการศึกษาต่อคณะกรรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผลและนิเทศการศึกษา
- แจ้งแผนพัฒนาคุณภาพการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและนิเทศการศึกษาให้กลุ่มต่างๆนำไปสู่การดำเนินการตามแผน
- ประสานงานกับคณะกรรรมการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผลและนิเทศการศึกษาเพื่อดำเนินการตามแผนและแก้ไขการดำเนินงานระหว่างการปฏิบัติ
๗.๓.๑ งานการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินและรายงานผล
- นำแผนพัฒนาคุณภาพการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินและการนิเทศการศึกษามากำหนดจุดเน้น วิธีการ
เครื่องมือและคณะกรรมการการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและนิเทศการศึกษา
- นำเสนอแนวทาง จุดเน้น
วิธีการ เครื่องมือและคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบประเมินและนิเทศ
ต่อคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและนิเทศการศึกษา
- ดำเนินการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินและการนิเทศ ตามแนวทางของคณะกรรมการการติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินและนิเทศการศึกษา
- รวบรวม
ประมวล และวิเคราะห์ข้อมูลจากการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและการนิเทศ
- จัดทำรายงานผลการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินและการนิเทศต่อคณะกรรมการติดตามตรวจสอบ ประเมินและนิเทศการศึกษา
- เผยแพร่ายงานผลการติดตาม
ตรวจสอบ ประเมินและการนิเทศต่อคณะกรรมการติดตามตรวจสอบ ประเมินและนิเทศการศึกษาต่อ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๘. งานธุรการ
๘.๑ ศึกษา
วิเคราะห์ วางแผน จัดระบบข้อมูล สารสนเทศการบริหารงานของกลุ่มนิเทศ ติดตาม
และประเมินผลการจัดการศึกษา
ให้สามารถดำเนินการตามภารกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๘.๒ ศึกษา
วิเคราะห์ สภาพงานและออกแบบระบบงานสารบรรณของกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาให้สอดคล้องเหมาะสมกับระบบงานสารบรณของสำนักงานพื้นที่การศึกษา
๘.๓
ประสานงานกับกลุ่มอื่นในสำนักงาน
หน่วยงานและสถานศึกษาในงานธุรการที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานของกลุ่มนิเทศ
ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
๘.๔
ประสานงานการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสารและผลงานของกลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
ให้หน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้องทราบ
๘.๕
คำเนินการเกี่ยวกับการประชุมภายในกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
๘.๖
จัดทำรายงานผลการดำเนินงานของกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
๘.๗
จัดทำเว็บไชต์ของกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
๘.๘
บันทึกหรือประสานงานขออนุญาตใช้ห้องประชุมของสำนักงาน รถยนต์ส่วนกลางและอุปกรณ์เครื่องใช้อื่นที่จำเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงานประจำและงานโครงการของศึกษานิเทศก์ก็และรองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่เกี่ยวข้อง
๘.๙
ขอเบิกวัสดุ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานของกลุ่มนิทศติดตมและประเมินผลการจัดการศึกษา
๘.๑๐
ประสานงานและช่วยเหลือเกี่ยวกับการควบคุม ดูแล ด้านความสะอาด ปลอดภัย
เสนอการซ่อมวัสดุครุภัณฑ์
ของห้องทำงานกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
๘.๑๑ รับ-ส่ง
หนังสือราชการตามระบบสารบรรณอิเลคทรอนิกส์ (e-fling)
เอกสารอ้างอิง
กระทรวงศึกษาธิการ.
(2562). คู่มือการฝึกประสบการณ์นิเทศการศึกษา. หลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งศึกษานิเทศก์.
หน่วยพัฒนาภาคใต้ จังหวัดสงขลา. วันที่ 8- 15 มกราคม 2563.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
ภารกิจ
บทบาท และอำนาจหน้าที่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต
๑
(ออนไลน์). (2552). สืบค้นเมื่อ
20 มกราคม 2562 จาก : http://
http://www.nst1.go.th/
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช
เขต 1. (2562). แผนพัฒนาครูและบุคลากร
ทางการศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ.2562. จังหวัดนครศรีธรรมราช.
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช
เขต 1. (2562). แผนปฏิบัติการประจำปี
งบประมาณ พ.ศ.2562. จังหวัดนครศรีธรรมราช.