หน่วยที่ 3 เรื่อง คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
วิชา คอมพิวเตอร์ (ง.21102) ชั้น ม.1
วันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2554
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เลขฐานสองกับระบบดิจิทัล
สาระสำคัญ ความสัมพันธ์ระหว่างระบบเลขฐานสองกับระบบดิจิทัล
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง นักเรียนบอกความสัมพันธ์ของระบบเลขฐานสองกับระบบดิจิทัลได้
สาระการเรียนรู้ ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างระบบเลขฐานสองกับระบบดิจิทัล
ใบความรู้
เรื่อง ความสัมพันธ์ระบบเลขฐานสองกับระบบดิจิทัล
ระบบดิจิทัลที่ใช้ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์สมัยใหม่ เป็นระบบที่ทำงานด้วยแรงดันไฟฟ้าสองระดับ ซึ่งต่างกับระบบแอนะล็อกดั้งเดิม ที่ทำงานโดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงของแรงดันไฟฟ้าอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากระบบดิจิทัลทำงานโดยอาศัยแรงดันไฟฟ้าสองระดับ เราจึงสามารถใช้ระบบเลขฐานสอง (เลข 0 กับ เลข 1) แทนแรงดันไฟฟ้าสองระดับนั้น ดังนั้นเมื่อเราสร้างคอมพิวเตอร์ด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ระบบดิจิทัล เราจึงอาจกล่าวได้ว่าคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยระบบเลขฐานสอง นั่นคือคอมพิวเตอร์จะใช้เพียงเลข 0 กับเลข 1 เท่านั้นในการทำงาน แต่เนื่องจากคอมพิวเตอร์จะต้องคำนวณเลขที่มีค่ามาก หรือต้องจัดการกับข้อมูลจำนวนมาก ๆ เลขฐานสองที่ใช้จึงต้องมีจำนวนหลักมาก จำนวนหลักของเลขฐานสองนี่เองที่เราเรียกว่า บิต (Bit) เช่น เลขฐานสองที่ใช้เป็นรหัสแทนตัวอักษรต่าง ๆ บนแป้นพิมพ์ของคอมพิวเตอร์นั้นเป็นเลขฐานสองขนาด 8 บิต คือ มี 8 หลัก เช่น ตัวอักษร A แทนด้วย 0100 0001 อักษร Z แทนด้วย 0101 1010 เป็นต้นแบบฝึกหัด
เรื่อง การนับเลข
ชื่อ-สกุล...........................................เลขที่..............ชั้น..................คำชี้แจง จงตอบคำถามต่อไปนี้ให้สมบูรณ์ที่สุด ในกล่องแสดงความคิดเห็น เรื่อง เลขฐานสองกับระบบดิจิทัล ใน tonghom2009.blogspot.com
1. คอมพิวเตอร์มีระบบจัดการกับข้อมูลมาก ๆ อย่างไร
………………………………………………………………….
………………………………………………………………….
2. จงบอกข้อแตกต่างระหว่างระบบดิจิทัลกับแอนะล็อก
………………………………………………………………….
………………………………………………………………….
3. บอกความสัมพันธ์ระหว่างระบบเลขฐานสองกับระบบดิจิทัล
………………………………………………………………….
………………………………………………………………….
1. คอมพิวเตอร์มีระบบจัดการกับข้อมูลมาก ๆ อย่างไร
ตอบลบข้อมูล (Data) หมายถึง ความจริง (fact) ซึ่งสามารถบันทึกไว้ได้ และมีความหมายอยู่ในตัว
ข้อมูลถือได้ว่าเป็นหัวใจสำคัญของระบบงานคอมพิวเตอร์ เนื่องจากการประมวลผลทางคอมพิวเตอร์ทุกประเภทจะเป็นการประมวลผลข้อมูลในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เพื่อให้ได้รับผลลัพธ์ที่ต้องการออกมา หากข้อมูลที่ป้อนให้คอมพิวเตอร์ผิด ผลลัพธ์ที่ได้จากคอมพิวเตอร์ก็จะไม่มีคุณค่าอะไรเลย หรือที่เรียกว่า ป้อนขยะเข้าย่อมได้ขยะออกมา (garbage in - garbage out
2. จงบอกข้อแตกต่างระหว่างระบบดิจิทัลกับแอนะล็อก
อุปกรณ์หรือระบบแอนะล็อก จะมีการประมวลผลสัญญาณที่มีความต่อเนื่อง (Continuous) เช่นแรงดัน, กระแสไฟฟ้า และอุณหภูมิ เป็นต้น
• ในขณะที่ระบบดิจิทัลจะประมวลผลสัญญาณที่ไม่ต่อเนื่อง (Discrete) โดยทั่วไปจะมีเพียงสองสถานะ
ยกตัวอย่างเช่น
=> 0 หรือ 1
=> ต่ำ หรือ สูง
=> 0 V หรือ 5 V
=> เท็จ หรือ จริง
=> ปิด หรือ เปิด
3. บอกความสัมพันธ์ระหว่างระบบเลขฐานสองกับระบบดิจิทัล
ระบบเลขฐาน จัดเป็นระบบตัวเลขที่ใช้งานอยู่ใน PLC ดังนั้นผู้ใช้งานมีความจำเป็นต้องศึกษาระบบเลขฐานให้เข้าใจประกอบกับข้อมูลอื่นๆ เพื่อการใช้งานที่ถูกต้อง
ระบบเลขฐานสอง (Binary)
ระบบเลขฐานสิบ (Decimal)
ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal
1. คอมพิวเตอร์มีระบบจัดการกับข้อมูลมาก ๆ อย่างไร
ตอบลบข้อมูล หมายถึง ความจริงซึ่งสามารถบันทึกไว้ได้ และมีความหมายอยู่ในตัว
ข้อมูลถือได้ว่าเป็นหัวใจสำคัญของระบบงานคอมพิวเตอร์ เนื่องจากการประมวลผลทางคอมพิวเตอร์ทุกประเภทจะเป็นการประมวลผลข้อมูลในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เพื่อให้ได้รับผลลัพธ์ที่ต้องการออกมา หากข้อมูลที่ป้อนให้คอมพิวเตอร์ผิด ผลลัพธ์ที่ได้จากคอมพิวเตอร์ก็จะไม่มีคุณค่าอะไรเลย หรือที่เรียกว่า ป้อนขยะเข้าย่อมได้ขยะออกมา
2. จงบอกข้อแตกต่างระหว่างระบบดิจิทัลกับแอนะล็อก
แอนะล็อกหมายถึง วิธีการเก็บข้อมูลที่ได้จากการวัดในลักษณะต่อเนื่อง เช่น วัดความเร็ว
ของรถยนต์จาการหมุนของวงล้อ ตรงข้ามกับ
ดิจิทัล ซึ่งหมายถึง การเก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลข
นาฬิกามีใช้ทั้งสองแบบ ซึ่งจะบอกความแตกต่างระหว่างแอนะล็อกและดิจิทัลได้ชัดเจน กล่าวคือ
แบบหนึ่งจะแสดงเวลาเป็นตัวเลข ส่วนอีกแบบหนึ่งใช้เข็มสั้นและเข็มยาวเป็นตัวบอกเวลา เรียกว่าแบบแอนะล็อก
3. บอกความสัมพันธ์ระหว่างระบบเลขฐานสองกับระบบดิจิทัล
ระบบเลขฐาน จัดเป็นระบบตัวเลขที่ใช้งานอยู่ใน PLC ดังนั้นผู้ใช้งานมีความจำเป็นต้องศึกษาระบบเลขฐานให้เข้าใจประกอบกับข้อมูลอื่นๆ เพื่อการใช้งานที่ถูกต้อง
-ระบบเลขฐานสอง
-ระบบเลขฐานสิบ
-ระบบเลขฐานสิบหก
1. คอมพิวเตอร์มีระบบจัดการกับข้อมูลมาก ๆ อย่างไร
ตอบลบตอบ ข้อมูล (Data) หมายถึง ความจริง (fact) ซึ่งสามารถบันทึกไว้ได้ และมีความหมายอยู่ในตัว
ข้อมูลถือได้ว่าเป็นหัวใจสำคัญของระบบงานคอมพิวเตอร์ เนื่องจากการประมวลผลทางคอมพิวเตอร์ทุกประเภทจะเป็นการประมวลผลข้อมูลในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เพื่อให้ได้รับผลลัพธ์ที่ต้องการออกมา หากข้อมูลที่ป้อนให้คอมพิวเตอร์ผิด ผลลัพธ์ที่ได้จากคอมพิวเตอร์ก็จะไม่มีคุณค่าอะไรเลย หรือที่เรียกว่า ป้อนขยะเข้าย่อมได้ขยะออกมา (garbage in - garbage out)
2. จงบอกข้อแตกต่างระหว่างระบบดิจิทัลกับแอนะล็อก
ตอบ ความแตกต่างระหว่างอนาล็อก และ ดิจิตอล คือ อนาล็อกเป็นการบันทึกรูปแบบคลื่นเสียงลงบนตัวกลางเช่น เทป ส่วน ดิจิตอลเป็นการแปลงสัญญาณอนาล็อกที่เป็นคลื่นเสียงให้เป็นชุดของตัวเลขและทำการบันทึกตัวเลขที่ได้แทน เมื่อมีการเล่น, ตัวเลขที่จะถูกแปลงเป็นกระแสไฟฟ้าที่ใกล้เคียงกับคลื่นอนาล็อกเดิม
มันอาจจะดูเหมือนว่าเทคโนโลยีที่แปลงสัญญาณอนาล็อกให้เป็นตัวเลขจะเสียงดีกว่าที่ถูกบันทึกในรูปแบบคลื่นเสียงเดิม แต่การบันทึกเสียงด้วยระบบดิจิตอลสำหรับเพลงนี้ต้องการผ่านการสุ่มตัวอย่างนั้น เมื่อสัญญาณอนาล็อกเช่นเพลงจะถูกบันทึกด้วยเครื่องบันทึกดิจิตอล เพลงที่เป็นตัวอย่างหลายพันครั้งต่อวินาที สำหรับการบันทึกซีดีที่มีคุณภาพระดับอัตราการสุ่มตัวอย่างเฉลี่ยอยู่ที่ 44,000 ครั้งต่อวินาที ดังนั้นที่อัตราการสุมตัวอย่างที่สูงขึ้นจะทำให้อัตราการบันทึกความถูกต้องของคลื่นเสียงที่สูงขึ้นด้วย
3. บอกความสัมพันธ์ระหว่างระบบเลขฐานสองกับระบบดิจิทัล
ตอบ ระบบเลขฐาน จัดเป็นระบบตัวเลขที่ใช้งานอยู่ใน PLC ดังนั้นผู้ใช้งานมีความจำเป็นต้องศึกษาระบบเลขฐานให้เข้าใจประกอบกับข้อมูลอื่นๆ เพื่อการใช้งานที่ถูกต้อง
ระบบเลขฐานสอง (Binary)
ระบบเลขฐานสิบ (Decimal)
ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal)
ด.ช.กิตติภพ หอมหวล ชั้น ม.1 เลขที่19
ตอบลบด.ช.สัญญา มัจฉาเชี่ยว ชั้น ม.1 เลขที่17
1. คอมพิวเตอร์มีระบบจัดการกับข้อมูลมาก ๆ อย่างไร
ตอบ “ระบบการจัดการฐานข้อมูล” คือ โปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการกำหนดลักษณะข้อมูลที่จะเก็บไว้ในฐานข้อมูล อำนวยความสะดวกในการบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล กำหนดผู้ที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ฐานข้อมูลได้ พร้อมกับกำหนดด้วยว่าให้ใช้ได้แบบใด เช่น ให้อ่านข้อมูลได้อย่างเดียวหรือให้แก้ไขข้อมูลได้ด้วย นอกจากนั้นยังอำนวยความสะดวกในการค้นหาข้อมูล และการแก้ไขปรับปรุงข้อมูล ทำให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย สะดวกและมีประสิทธิภาพ เสมือนเป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับฐานข้อมูลให้สามารถติดต่อกันได้
2. จงบอกข้อแตกต่างระหว่างระบบดิจิทัลกับแอนะล็อก
ตอบ Analog (แอนะล็อก) หมายถึง วิธีการเก็บข้อมูลที่ได้จากการวัดในลักษณะต่อเนื่อง เช่น วัดความเร็ว
ของรถยนต์จาการหมุนของวงล้อ ตรงข้ามกับ ดิจิทัล (digital) ซึ่งหมายถึง การเก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลข
3. บอกความสัมพันธ์ระหว่างระบบเลขฐานสองกับระบบดิจิทัล
ตอบ เนื่องจากระบบดิจิตอลทำงานโดยอาศัยแรงดันไฟฟ้าสองระดับ เราจึงสามารถใช้ระบบเลขฐานสอง (เลข 0 กับ เลข 1) แทนแรงดันไฟฟ้าสองระดับนั้น ดังนั้นเมื่อเราสร้างคอมพิวเตอร์ด้วยวงจรอิเล็อทรอนิกส์ระบบดิจิตอลเราจึงอาจกล่าวได้ว่าคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยระบบเลขฐานสอง นั่นคือคอมพิวเตอร์จะใช้เพียงเลข 0 กับเลข 1 เท่านั้น แต่เนื่องจากคอมพิวเตอร์จะต้องคำนวณเลขที่มีค่ามาก หรือต้องจัดการกับข้อมูลจำนวนมาก เลขฐานสองที่ใช้จึงต้องมีจำนวนหลักมาก จำนวนหลักของเลขฐานสองนี่เองที่เราเรียกว่า บิต (bit) เช่น เลขฐานสองที่ใช้เป็นรหัสแทนตัวอักษรต่าง ๆ บนแผงแป้นอักขระของคอมพิวเตอร์นั้น เป็นเลขฐานสองขนาด 8 บิต คือ มี 8 หลัก เช่น อักษร “A” แทนด้วย 0100 0001 อักษร “Z” แทนด้วย 0101 1010 เป็นต้น
1. คอมพิวเตอร์มีระบบจัดการกับข้อมูลมาก ๆ อย่างไร
ตอบลบระบบการจัดการฐานข้อมูล หรือที่นิยมเรียกว่า ดีบีเอ็มเอส (DBMS) คือชุดของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่สร้าง ดูแลรักษา และใช้งานส่วนต่าง ๆ ของฐานข้อมูล
โดยปกติแล้ว วิธีการเรียกใช้ ตลอดจนเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลที่จัดเก็บไว้ในฐานข้อมูลมีวิธีต่าง 2. จงบอกข้อแตกต่างระหว่างระบบดิจิทัลกับแอนะล็อก
แบบหนึ่งจะแสดงเวลาเป็นตัวเลข ส่วนอีกแบบหนึ่งใช้เข็มสั้นและเข็มยาวเป็นตัวบอกเวลา เรียกว่าแบบแอนะล็อก คอมพิวเตอร์นั้นมีสองชนิด คือชนิดแอนะล็อกและชนิดดิจิทัล แต่คอมพิวเตอร์ที่เรารู้จักกันนั้นจะเก็บเฉพาะข้อมูลที่เป็นดิจิทัล "เสียง" เป็นข้อมูลที่มีลักษณะเป็นแอนะล็อก เมื่อจะนำเข้าไปเก็บในคอมพิวเตอร์ จะต้องถูกนำไปเปลี่ยนเป็นดิจิทัลก่อน โดยให้ผ่านอุปกรณ์ชนิดหนึ่งเรียก ว่า "โมเด็ม" 3. บอกความสัมพันธ์ระหว่างระบบเลขฐานสองกับระบบดิจิทัล
ระบบเลขฐานสอง (Binary) จะเป็นระบบเลขที่ง่ายกว่าเลขฐานสิบ เนื่องจากระบบเลขฐานสอง จะใช้ัอักขระแทนสองตัว ระบบเลขฐานสองนี้ใช้ในระบบดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส์ด้วย เพราะว่าวงจรดิจิตอลจะมีเพียงสองสถานะ(two states)หรือระดับสัญญาณสองระดับ (two signal levels)โดยมีตัวเลขที่ไม่ซ้ำกันอยู่ทั้งหมด 2 ตัว คือ 0 และ 1 หรืออาจใช้คำอื่นแทน
1. คอมพิวเตอร์มีระบบจัดการกับข้อมูลมาก ๆ อย่างไร
ตอบลบข้อมูล หมายถึง ความจริงซึ่งสามารถบันทึกไว้ได้ และมีความหมายอยู่ในตัว
ข้อมูลถือได้ว่าเป็นหัวใจสำคัญของระบบงานคอมพิวเตอร์ เนื่องจากการประมวลผลทางคอมพิวเตอร์ทุกประเภทจะเป็นการประมวลผลข้อมูลในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เพื่อให้ได้รับผลลัพธ์ที่ต้องการออกมา หากข้อมูลที่ป้อนให้คอมพิวเตอร์ผิด ผลลัพธ์ที่ได้จากคอมพิวเตอร์ก็จะไม่มีคุณค่าอะไรเลย หรือที่เรียกว่า ป้อนขยะเข้าย่อมได้ขยะออกมา
2. จงบอกข้อแตกต่างระหว่างระบบดิจิทัลกับแอนะล็อก
แอนะล็อกหมายถึง วิธีการเก็บข้อมูลที่ได้จากการวัดในลักษณะต่อเนื่อง เช่น วัดความเร็ว
ของรถยนต์จาการหมุนของวงล้อ ตรงข้ามกับ
ดิจิทัล ซึ่งหมายถึง การเก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลข
นาฬิกามีใช้ทั้งสองแบบ ซึ่งจะบอกความแตกต่างระหว่างแอนะล็อกและดิจิทัลได้ชัดเจน กล่าวคือ
แบบหนึ่งจะแสดงเวลาเป็นตัวเลข ส่วนอีกแบบหนึ่งใช้เข็มสั้นและเข็มยาวเป็นตัวบอกเวลา เรียกว่าแบบแอนะล็อก
3. บอกความสัมพันธ์ระหว่างระบบเลขฐานสองกับระบบดิจิทัล
ระบบเลขฐาน จัดเป็นระบบตัวเลขที่ใช้งานอยู่ใน PLC ดังนั้นผู้ใช้งานมีความจำเป็นต้องศึกษาระบบเลขฐานให้เข้าใจประกอบกับข้อมูลอื่นๆ เพื่อการใช้งานที่ถูกต้อง
-ระบบเลขฐานสอง
-ระบบเลขฐานสิบ
-ระบบเลขฐานสิบหก
ชื่อผู้ส่ง
ด.ช.ธนกฤต กำลัง ม.1 เลขที่5
ด.ช.พรหมมาตร์ เพชรแก้ว ม.1 เลขที่ 6
1.ด.ญ.กตัญชลื รังษี เลขที่ 33 ชั้น ม.1
ตอบลบ2.ด.ญ.เยาวเรศ ถาวรมงคล เลขที่ 32 ชั้น ม.1
3.ด.ญ.กชมน รามขาว เลขที่ 27 ชั้น ม.1
1. คอมพิวเตอร์มีระบบจัดการกับข้อมูลมาก ๆ อย่างไร
ตอบ จุดมุ่งหมายของ Hitachi คือการสร้างเสริมสังคมด้วยข้อมูลที่สามารถเข้าถึงได้ทั่วไป Hitachi ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาวิถีชีวิตที่ดำเนินไปด้วยข้อมูลด้วยการนำเสนอรูปแบบเทคโนโลยีและสินค้าบริการที่เหนือชั้น มีประสิทธิภาพสูง และสามารถไว้วางใจได้
2. จงบอกข้อแตกต่างระหว่างระบบดิจิทัลกับแอนะล็อก
ตอบ อุปกรณ์หรือระบบแอนะล็อก จะมีการประมวลผลสัญญาณที่มีความต่อเนื่อง เช่นแรงดัน, กระแสไฟฟ้า และอุณหภูมิ เป็นต้น
3. บอกความสัมพันธ์ระหว่างระบบเลขฐานสองกับระบบดิจิทัล
ตอบ ดิจิตอล หรือ ระบบดิจิตอล กลายเป็นคำคุ้นหูของคนยุคนี้เสียเหลือเกิน ในทุกขณะที่โลกกำลังหมุนไป ระบบดิจิตอลก็ได้แทรกซึมและเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของเรามากยิ่งขึ้น เทคโนโลยีมากมายในปัจจุบันต่างก็ได้พัฒนาและนำระบบดิจิตอลมาใช้ในการทำงาน ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ เครื่องคิดเลข กล้องถ่ายรูป โทรทัศน์ โทรศัพท์ นาฬิกา ฯลฯ
1. คอมพิวเตอร์มีระบบจัดการกับข้อมูลมาก ๆ อย่างไร
ตอบลบตอบ……รหัสแทนข้อมูล
ระบบคอมพิวเตอร์เป็นระบบที่ใช้สัญญาณทางไฟฟ้าในการทำงาน ทำให้มีสองสถานะคือเปิด (ON) และปิด (OFF) จึงต้องหาวิธีในการแทนที่สองสถานะนี้ นั่นคือการใช้เลขฐานสอง (Binary Number System) ซึ่งประกอบจากเลข 0 และ 1 แทนความหมายของข้อมูลต่าง ๆ หากพิจารณาเลขฐานสองเพียงหนึ่งหลัก จะเห็นว่าสามารถแทนข้อมูลได้เพียงสองชนิดเท่านั้นคือ 0 และ 1 ในขณะที่เลขฐานสองสองหลักจะสามารถแทนข้อมูลได้ 4 ชนิดคือ 00 , 01 , 10 และ 11 ดังนั้นหากต้องการใช้เลขฐานสองในการแทนข้อมูลจำนวนมาก เช่น นำมาแทนตัวอักษรต่าง ๆ ทั้งในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ก็จะต้องใช้เลขฐานสองจำนวนหลายหลัก
ระบบไฟล์ข้อมูล
หน่วยเก็บข้อมูลสำรองของคอมพิวเตอร์จะเก็บข้อมูลในรูปของตัวเลขฐานสอง ซึ่งจะประกอบกันเป็นแฟ้มข้อมูลหรือ ไฟล์ (File) โดยที่ไม่ว่าจะใช้สื่อเก็บข้อมูลชนิดใดก็ตาม ทุกอย่างที่เก็บอยู่ในหน่วยเก็บข้อมูลสำรองต้องอยู่ในรูปของไฟล์ ไฟล์ก็คือบริเวณใดบริเวณหนึ่งบนหน่วยเก็บข้อมูลสำรองที่ถูกกำหนดให้เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลต่าง ๆ นั่นเอง
ไฟล์สามารถแบ่งออกเป็นหลายชนิด การอ้างถึงไฟล์ต่าง ๆ สามารถอ้างด้วยชื่อของไฟล์นั้น ไฟล์หลาย ๆ ไฟล์จะถูกจัดเก็บไว้รวมกันอยู่ในไดเรกทอรี่ (Directory) หรือ โฟลเดอร์ (folder) ซึ่งเปรียบเสมือนตู้เอกสารที่เก็บเอกสารหลาย ๆ แฟ้มไว้ด้วยกัน และในหน่วยเก็บข้อมูลหนึ่ง ๆ อาจมีหลาย ๆ ไดเรกทอรี่ใด ซึ่งนิยมพิจารณาจากข้อมูลที่เก็บอยู่ในไฟล์เหล่านั้น โดยหากข้อมูลในไฟล์มีความสัมพันธ์กันก็จะจัดให้อยู่ในไดเรกเทอรี่เดียวกัน หากข้อมูลต่างประเภทกันก็ควรพิจารณาจัดไว้ในไดเรกทอรี่อื่น
ระบบฐานข้อมูล
จากปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในระบบจัดการข้อมูลแบบไฟล์ ทำให้เกิดแนวความคิดที่จะสร้างระบบการจัดการข้อมูลแบบใหม่ ซึ่งสามารถทำการจัดการ ดูแลรักษา ตรลดจนเรียกใช้ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อันจะทำให้งานการสร้างและใช้งานข้อมูลกระทำได้อย่างรวดเร็วและเสียค่าใช้จ่ายน้อยลง
ระบบจัดการฐานข้อมูล
ระบบการจัดการฐานข้อมูล หรือที่นิยมเรียกว่า ดีบีเอ็มเอส (DBMS) คือชุดของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่สร้าง ดูแลรักษา และใช้งานส่วนต่าง ๆ ของฐานข้อมูล
…………………………………………………………….
………………………………………………………………….
2. จงบอกข้อแตกต่างระหว่างระบบดิจิทัลกับแอนะล็อก
ตอบ…Analog ไม่เปลี่ยน ไม่แปลงเสียงเลยก็จริง แต่เนื่องจากใช้วงจรเยอะ ทำให้มันมีสัญญานกวนเยอะเช่นกัน ทั้งจากตัวเอง และ ข้างนอก ในขณะที่Digital แปลงไปเป็นตัวเลขเรียบร้อย ก็ไม่มีอะไรเข้ามาแทรกได้แล้วครับ ถ้ามีอะไรแทรก มันก็errorไปซะงั้นเลย (เสียงแบบเวลา MP3 มันสะดุดน่ะ แครก ฟรืด อะไรแบบนั้น)
Digital ไม่มีสัญญานกวนก็จริง แต่ มันแปลงไปแล้วครับ ส่วนไหนที่มันเกินความถี่ที่เครื่องทำงานได้ ก็หายไปซะงั้น ขาดเสียงHarmonicที่ควรจะมีตามธรรมชาติ หลายๆคนเลยบอกว่าฟังแล้ว มันแห้งๆ ไร้รสชาติ แถมจะเอากลับคืนมาก็ไม่ได้ซะด้วย เกินกำลังเครื่อง ( อันนี้เป็นเหตุผลว่าทำไม พวกSoundCardโฆษณากันจัง ว่าเครื่องตัวเองทำงานได้ที่คว่ามถี่สูงๆ แต่ก่อน 32KHz เดี๋ยวนี้มานิยมกันที่ 96KHz แล้ว) ลองเทียบดูก็ได้ครับ แปลงไฟล์เป็นMP3 ที่ 22K กับ 44.1K เสียงมันต่างกันแค่ไหน ซึ่ง นี้ละครับ จุดอ่อนใหญ่ที่สุด กลบไม่มิด ฝังไม่หมดของ Digital แต่ Analog ไม่มีการตัดครับ เสียงสูงเกินหูคนได้ยิน ถ้ามันยังทำงานได้ ไม่ระเบิด มันก็ยังอยู่ ไม่หายไปไหนครับ ผลก็คือ Harmonic ที่คนไม่ได้ยิน แต่มักจะสอดแทรกกับเสียงปรกติ จนเกิดความเป็นธรรมชาตินั้น ยังอยู่ครบ
……………………………………………………………….
………………………………………………………………….
3. บอกความสัมพันธ์ระหว่างระบบเลขฐานสองกับระบบดิจิทัล
ตอบ … ระบบดิจิทัลที่ใช้ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์สมัยใหม่ เป็นระบบที่ทำงานด้วยแรงดันไฟฟ้าสองระดับ ซึ่งต่างกับระบบแอนะล็อกดั้งเดิม ที่ทำงานโดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงของแรงดันไฟฟ้าอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากระบบดิจิทัลทำงานโดยอาศัยแรงดันไฟฟ้าสองระดับ เราจึงสามารถใช้ระบบเลขฐานสอง (เลข 0 กับ เลข 1) แทนแรงดันไฟฟ้าสองระดับนั้น ดังนั้นเมื่อเราสร้างคอมพิวเตอร์ด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ระบบดิจิทัล เราจึงอาจกล่าวได้ว่าคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยระบบเลขฐานสอง นั่นคือคอมพิวเตอร์จะใช้เพียงเลข 0 กับเลข 1 เท่านั้นในการทำงาน แต่เนื่องจากคอมพิวเตอร์จะต้องคำนวณเลขที่มีค่ามาก หรือต้องจัดการกับข้อมูลจำนวนมาก ๆ เลขฐานสองที่ใช้จึงต้องมีจำนวนหลักมาก จำนวนหลักของเลขฐานสองนี่เองที่เราเรียกว่า บิต (Bit) เช่น เลขฐานสองที่ใช้เป็นรหัสแทนตัวอักษรต่าง ๆ บนแป้นพิมพ์ของคอมพิวเตอร์นั้นเป็นเลขฐานสองขนาด 8 บิต คือ มี 8 หลัก เช่น ตัวอักษร A แทนด้วย 0100 0001 อักษร Z แทนด้วย 0101 1010 เป็นต้น…………………………………………………………….
ด.ช.รัชชานนท์ สุชลจิต ชั้นม.1……ด.ช.ภานุวัฒน์ ถาวรสังข์ ชั้น ม.1 เลขที่9…………………………………………………………….